ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Mega-Scale Building Structural Systems (ARC348/2559)

เนื้อหาและรายละเอียดการสอนวิชา ARC348 Mega-Scale Building Structural Systems คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต

วิธีการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ ช่วงพาดกว้าง และปานกลาง โดยใช้โครงสร้างผสมผสาน  เหล็ก และคอนกรีตเสริมเหล็ก การใช้คอนกรีตอัดแรงในการก่อสร้าง ระบบการก่อสร้างโดยใช้ชิ้นส่วนสำเร็จรูป ศึกษารายละเอียด และคุณสมบัติของวัสดุก่อสร้างที่เกี่ยวข้อง การใช้เหล็กในการก่อสร้าง การต่อโครงสร้างเหล็ก วิธีการป้องกัน การผุกร่อน และการป้องกันไฟ

Building construction focusing on steel and steel reinforced concrete in medium-long span building construction, pre-stressed concrete, pre-fabrication technology.  Study use of steel in building construction, building structures, joints and details, steel treatments and fire protections.  

หัวข้องาน
Assignment 1 . Long Span "GO" คลิก 
Project 1. Experimental Design Truss & Space Frame คลิก
Final Project : Bamboo Structure คลิก เอกสารประกอบการสอน
Architects' Data Third Edition คลิก

เอกสารประกอบการสอน 
Membrane Structure คลิก
ตัวอย่างรายงานโครงสร้างหลังคา คลิก

คะแนน
ประกาศคะแนนสอบครั้งที่ 1 คลิก

รายละเอียดการสอน

สัปดาห์ที่/ วันที่
หัวข้อ/รายละเอียด
ชม.
กิจกรรม
สื่อที่ใช้
ผู้สอน
1

17 ..59
บรรยาย
- แนะนำรายวิชา
- ระบบโครงสร้างอาคารช่วงพาดกว้างประเภทต่างๆ

1
การบรรยาย
Slide

Power Point
.ชาลี  ไกรฤกษ์

.ผู้สอนทุกท่าน
ปฏิบัติ
- สอบประมวลความรู้
   (10 คะแนน)
- แบ่งกลุ่มทำงาน ASSIGNMENT1 (15คะแนน) พร้อมสรุปเนื้อหาอาคารช่วงพาดกว้าง และพื้นที่ทัศนศึกษา

4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
2

24 ..59
ทัศนศึกษา
แบ่งกลุ่มทัศนศึกษาอาคาร
ช่วงพาดกว้าง
5
การบรรยาย
Slide
Power Point

อ.ผู้สอนทุกท่าน
3

31 ส.ค.59
บรรยาย
-โครงสร้างผ้าใบ
1
การบรรยาย
Slide

Power Point

.ผู้สอนทุกท่าน
ปฏิบัติ
- ASSIGNMENT1 (15คะแนน) นำเสนองาน/พร้อมส่งร่างเล่มรายงาน
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
Slide
Power Point
.ผู้สอนทุกท่าน
4

7 ..59
บรรยาย/ปฏิบัติ
- กรณีศึกษาจาก ASSIGNMENT1.
-ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์
- สอบประมวลความรู้2
   (5 คะแนน)
5
การนำเสนองาน
Slide
Power Point

.ผู้สอนทุกท่าน/
ตัวแทนนักศึกษา
5

14 ..59
บรรยาย
- Construction is Design
- โจทย์งาน PROJECT1.
1
การบรรยาย
Slide
Power Point
อ.มนต์ชัย
.ผู้สอนทุกท่าน
ปฏิบัติ
- อภิปรายกลุ่ม PROJECT1.
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
6

21 ..59
ปฏิบัติ
- ตรวจแบบร่าง PROJECT1.
5
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
หุ่นจำลอง
.ผู้สอนทุกท่าน
7

28 ..59
นำเสนองาน PROJETC 1
5
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
หุ่นจำลอง
.ผู้สอนทุกท่าน
5 ต.ค.59
หยุดกลางภาค
8

12 ..59
LECTURE SERIES (1)
1
การบรรยาย
Slide
Power Point
อ.สุนีย์

Work Shop 1 (5 คะแนน)
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
9

19 ..59
LECTURE SERIES (2)
1
การบรรยาย
Slide
Power Point
อ.สุนีย์
.ผู้สอนทุกท่าน

Work Shop 2 (5 คะแนน)
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
10

26 ..59
LECTURE SERIES (3)

1
การบรรยาย
Slide
Power Point
อ.อามาล
.ผู้สอนทุกท่าน

Work Shop 3
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
11

2 ..59
LECTURE SERIES (4)
1
การบรรยาย
Slide
Power Point
อ.มนต์ชัย

Work Shop 4 (5 คะแนน)
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
12

9 ..59
บรรยาย
-Vernacular Architecture and Structure (part1)
- Final Project
1
การบรรยาย
Slide
Power Point
อ.วรรณวดี
.ผู้สอนทุกท่าน
ปฏิบัติ
- อภิปรายกลุ่ม Final Project
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
13

16 ..59
บรรยาย
-Vernacular Architecture and Structure (part2)
- Final Project
1
การบรรยาย
Slide
Power Point
อ.ชาลี
ปฏิบัติ
- อภิปรายกลุ่ม Final Project
4
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
14

23 ..59
ตรวจแบบร่าง Final Project
5
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
เขียนและวาดอธิบาย
.ผู้สอนทุกท่าน
15
30 ..59
นำเสนองาน FINAL PROJETC
5
ฝึกปฏิบัติการและอภิปรายกลุ่ม
หุ่นจำลอง
.ผู้สอนทุกท่าน
16
นำเสนองานโครงสร้าง สัปดาห์วิชาการคณะฯ

โครงสร้างคะแนน (100%)
Assigment 1.                                       15 %
Project 1.                                             30 %
Final Project                                        20 %
ทดสอบความรู้                                     15 %
Work Shop                                          20 %
                รวม                                        100 %

* มาสายเกินเวลาเช็คชื่อหักครั้งละ 3 คะแนน

** นักศึกษาขาดเรียน/เข้าตรวจงาน หักครั้งละ 5 คะแนน ขาดเกิน 3 ครั้งนักศึกษาไม่มีสิทธิ์ได้รับการประเมิน 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เพราะ Construction คือ ดีไซน์ # เมื่อเด็กถาปัตย์ต้องเขียนรายงาน

     การเขียนรายงานกับนักศึกษาสถาปัตย์ ถ้าเปรียบเทียบคงเหมือนสุภาษิตทีว่า งูเหลือมแพ้เชือกกล้วย ต่อให้ออกแบบดี เขียนรูปสวย ทำ 3D ขั้นเทพ แต่ก็มักจะแพ้ทางการเขียนรายงาน เคยมีคนกล่าวไว้ว่า หากเขียนในสิ่งที่รู้ออกมาไม่ได้ก็แปลว่ายังไม่สามารถรู้เรื่องนั้นอย่างแท้จริง และนี่เองนำไปสู่กระบวนการที่ทางทีมอาจารย์ ต้องการให้นักศึกษารู้จักประมวลผลในสิ่งที่ตนเองทำ โดยเฉพาะเรื่องของโครงสร้าง การออกแบบอะไรสักอย่างก็ควรจะมีที่มาที่ไป แนวคิดจนถึงเทคนิคและวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง  จากบทความที่แล้ว ( # TRUSS & SPACE FRAME ) ได้กล่าวถึงการจัดทำโมเดล เพื่อศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างช่วงพาดกว้าง และ กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างที่ปรึกษากับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในการสร้างสรรค์ออกแบบ โครงสร้าง TRUSS และ SPACE  FRAME  ว่าสามารถนำมาประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมอะไรได้บ้าง คราวนี้เรามาดูรายงานในกระบวนการศึกษาที่นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้จัดทำ โดยสามารถคลิก DOWNLOAD รายงานฉบับเต็มของแต่ละชิ้นงานได้ตาม Link ที่อยู่ด้านล่างครับ           1. โครงสร...

เพราะ Construction คือ ดีไซน์ # TRUSS & SPACE FRAME

หากประโยคติดหูที่ว่า “Great Power Comes With Great Responsibility” ( พลังอันยิ่งใหญ่มาพร้อมกับความรับผิดชอบอันใหญ่ยิ่ง ) ใครฟังก็ร้อง อ่อ นี่มันประโยคเด็ดของ คุณลุงเบน ลุงของสไปเดอร์แมนนี่เอง ประโยคเด็ดที่ว่า “Construction คือ ดีไซน์ ” ก็จัดเป็นประโยคเด็ดที่เหล่านักศึกษาสถาปัตย์ ม.รังสิต ได้ยินจนคุ้นหู และรู้ได้ทันทีว่าเป็นประโยคเด็ดของ อ.ชาลี ไกรฤกษ์ และนั่นก็เป็นแนวคิดที่ผมและทีมอาจารย์ทางสาย Construction พยายามปลูกฝังการคิดให้กับเหล่านักศึกษาชั้นปีที่4   โดยงานในครั้งนี้ได้ให้นักศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ จัดทำแบบจำลองโครงสร้าง TRUSS และ SPACE   FRAME   ในรูปแบบที่แตกต่างไปจากที่คิดว่าโครงสร้าง   TRUSS นำไปใช้กับหลังคาโรงงานหรือใช้คลุมช่วงพาดกว้างเท่านั้น   จริงแล้วสามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นรูปทรงอาคาร สร้างที่ว่าง หรือทำโครงสร้างสะพาน และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบได้อย่างมากมาย และนี่เป็นตัวอย่างส่วนหนึ่งของนักศึกษาที่นำมาเผยแพร่ครับ รูปบน: (รูป1) การนำ Space Frame มาสร้างพื้นที่ปกคลุมขนาดใหญ่โดยใช้เทคนิคการแผ่ออกจากฐาน น้ำหนักโค...